หยุดอาการเรื้อรัง ปวดตึง คอ บ่า ไหล่


อาการปวดคอ บ่าไหล่ ปวดสะบัก ปล่อยไว้อันตราย 1. มีอาการปวดคอ อาจมีปวดร้าวลงมาตามบ่า ไหล่ แขน มือ หรือสะบักข้างใดข้างหนึ่ง 2. อาจมีอาการชาตามแขนหรือนิ้วมือร่วมด้วย ความรู้สึกอาจเปลี่ยนแปลงไป 3. เคลื่อนไหวคอได้น้อยลง ตึงหรือ ปวดๆ ขัดๆ ถ้าเคลื่อนไหวจนสุด 4. มีอาการเกร็งแข็งของกล้ามเนื้อต้นคอ หรือมีจุดกดเจ็บบริเวณท้ายทอย ต้นคอ บ่า 5. อาจมีอาการปวดศีรษะตื้อๆ สาเหตุของอาการปวดคอ 1. กลุ่มเนื้อเยื่อหดเกร็ง กล้ามเนื้ออักเสบ มีจุดกดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อคอด้านข้างแนวกระดูกสันหลังใต้ท้ายทอย ทำให้ปวดบริเวณต้นคอร้าวขึ้นไปที่ศีรษะ ทำให้มีอาการปวดศีรษะร่วมด้วยได้ พบประมาณ 90 % 2. มีแรงกระแทกต่อกระดูกต้นคอทางตรงและ ทางอ้อม เช่น อุบัติเหตุต่างๆ 3. มีการเสื่อมของกระดูกต้นคอตามอายุ ทำให้มีหินปูนเกาะรอบขอบกระดูกไประคายเคืองเส้นประสาทคอปวดร้าวตามไหล่แขนได้พบประมาณ 5 % 4. จากอิริยาบถของคอไม่ถูกต้อง เช่น นั่งก้มหน้าทำงานนานๆ หรือ เงยหน้านานๆ ทำให้มีความรู้สึกเมื่อยล้าได้ นอนหมอนสูงเกินไป กึ่งนั่งกึ่งนอนดูทีวี 5. ภาวะเครียด หรือพักผ่อนไม่เพียงพอ


คนในช่วงวัยใดที่จะพบอาการปวดมากที่สุด

        จริงๆแล้วอาการนี้พบได้ทุกวัย ถ้าเป็นคนอายุน้อยก็น่าจะมาจากการเล่นกีฬาการออกกำลังที่หักโหมจนอาจเกิดกล้ามเนื้อฉีก หรือกิจกรรมที่ทำท่าทางซ้ำๆ หรืออุบัติเหตุ 

        ถ้าเป็นคนวัยทำงานหรือผู้สูงอายุอาจเกิดจากการสึกเสื่อมของกระดูกข้อไหล่ ภาวะหัวไหล่ติดหรือ ภาวะการอักเสบของเส้นเอ็นหัวไหล่(RotatorCuff) 

        ในส่วนของคนวัยทำงานในตอนนี้มีแนวโน้มว่าจะมีอาการปวดไหล่มากขึ้นและอาจจะทวีความรุนแรงจนถึงขั้นปวดไหล่เรื้อรังได้ เพราะด้วยลักษณะการใช้ร่างกายที่ผิด การอยู่ในท่าทางเดิมๆ ซ้ำๆ เป็นเวลานาน รวมไปถึงปัจจุบันคนในช่วงวัยนี้เริ่มให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย และบางท่านอาจออกหักโหมมากเกินไปหรืออาจออกกำลังผิดท่า ไม่ยืดเหยียดกล้ามเนื้อก่อน-หลังออกกำลังกาย จึงทำให้โอกาสที่จะบาดเจ็บของกล้ามเนื้อมีสูงขึ้น สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้มีอาการปวดทั้งสิ้น 

        แต่ด้วยคิดว่าไม่เป็นอะไรมาก บางคนจึงทนเก็บอาการไว้ แต่ยิ่งปล่อยไว้นานก็ยิ่งทำให้มีโอกาสทำให้เกิดอาการปวดกลายเป็นเรื้อรังมากยิ่งขึ้น

ปวดแบบไหนถึงจะเรียกว่าปวดแบบเรื้อรัง

        โดยมากอาการปวดก็จะปวดบ่อย ๆ หรือปวดตลอดเวลาเป็นระยะเวลานานกว่า 6 สัปดาห์ขึ้นไป ลักษณะนี้จัดว่าเป็นอาการปวดแบบเรื้อรังได้

อาการปวดลักษณะไหนที่ควรรีบฟื้นฟูแบบเร่งด่วน

         มีอาการปวดมานานกว่า 2 สัปดาห์ ซึ่งอาการปวดนี้รวมไปถึงการเคลื่อนไหวข้อไหล่ได้ไม่เต็มที่ด้วย มีอาการชาของแขน มีอาการปวดตึงคอ ท้ายทอย บ่าไล่ ปวดสะบักลึกๆ ยกไหล่ไม่ขึ้น มีลักษณะกล้ามเนื้อลีบ บางรายอาจมีอาการอื่น เช่น ไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ร่วมด้วย ซึ่งถ้ามีอาการเหล่านี้ก็ควรรีบฟื้นฟูแบบเร่งด่วน!!

ถ้าปล่อยไว้นานไม่ทำการฟื้นฟูจะอันตรายแค่ไหน
   
         หากปล่อยไว้นานจนมีอาการปวดไหล่เรื้อรังเมื่อเวลาผ่านไปอาการจะเป็นมากขึ้น ทำให้การเคลื่อนไหวข้อหัวไหล่ได้ลำบากมากขึ้น การเคลื่อนไหวที่ลดลงจะเป็นเกือบทุกทิศทาง ยกแขนได้ไม่สุด 

         หากเป็นกรณีที่มีการบาดเจ็บที่เส้นเอ็นคือเส้นเอ็นข้อไหล่อาจจะมีการฉีกขาด ซึ่งตอนแรกอาจจะฉีกขาดเล็กน้อยแต่พอปล่อยไว้นานก็อาจจะฉีกขาดเพิ่มมากขึ้น หรืออาจจะถึงขั้นขาดทั้งเส้นเลยก็ได้ แน่นอนว่าถ้าถึงขั้นนั้นก็จะทำการฟื้นฟูได้ยากมากยิ่งขึ้น











ดิออฟฟิศ

ส่วนประกอบที่สำคัญ

1.สารสกัดจากดอกดาวเรือง (Marigold Extract) 100 มก.
2.สารสกัดจากบลูเบอร์รี่ (Blueberry Extract) 50 มก.
3.สารสกัดจากชาเขียว (Green Tea Extract) 50 มก.
4.สารสกัดจากรากขิง (Ginger Root Extract) 40 มก.
5.แอล-กลูตามีน (L-Glutamine) 40 มก.
6.แอล-ไลซีน โมโนไฮโดรคลอไรด์ (L-lysine Monohydrochloride) 40 มก.
7.แอล-คาร์นิทีน (L-Carnitine) 35 มก.
8.โคเอ็นไซม์ คิวเท็น (Coenzyme Q10 Powder 10%) 20 มก.
9.ทอรีน (Taurine) 20 มก.
10.เบต้า กลูแคน จากข้าวโอ๊ต (Oat Beta-glucan 70%) 20 มก.
11.สารสกัดจากโสม (Ginseng Extract) 20 มก.
12.สารสกัดจากบิลเบอร์รี่ (Bilberry Extract) 15 มก.
13.สารสกัดจากพริก (Capsicum Extract) 15 มก.
14.สารสกัดจากขมิ้นชัน (Turmeric Extract) 15 มก

เหมาะสำหรับ

- ผู้ป่วยที่มีอาการปวดตึงคอบ่าไหล่ ปวดสบักลึกๆ ปวดบวมแดง อักเสบในชั้นมัดกล้ามเนื้อลึกๆ 
- ผู้ป่วยที่เส้นเอ็นตึง เส้นเอ็นอักเสบ กล้ามเนื้อตึง กล้ามเนื้ออักเสบชาร้าวลงแขน ชาร้าวลงฝ่ามือ





อเลอไทด์

ส่วนประกอบที่สำคัญ

1.น้ำมันปลา (Fish Oil Powder)   250 มก.
2.สารสกัดจากพรมมิ (Bacopa Monnieri (Brahmi) Extract)   225 มก.
3.โคลีน ไบทาเทรด (Choline Bitartrate)   225 มก.
4.เบต้า กลูแคน 85% (Beta Glucan 85%)   58.824 มก.
5.แอล-ไทโรซีน (L-Tyrosine)   50 มก.
6.โปรตีนสกัดจากถั่วเหลือง (Soy Protein Isolate)   50 มก.
7.ทอรีน (Taurine)   50 มก.
8.แอล-ซีสเตอีน ไฮโดรคลอไรด์ (L-Cysteine HCL)   50 มก.
9.แอล-ธีอะนีน (L-Theanine)   25 มก.
10.วิตามิน บี6 (Vitamin B6)   2 มก.
11.วิตามิน บี1 (Vitamin B1)   1.5 มก.
12.วิตามิน บี12 (Vitamin B12)  0.002 มก.

เหมาะสำหรับ
ผู้ป่วย ผู้มีอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาทและสมอง
- ผู้ที่เคยประสบอุบัติเหตุมีผลต่อระบบประสาทและสมอง
- ผู้ป่วยที่มีอาการ แขนชา ขาชา กล้ามเนื้ออ่อนแรง




โกเรจิ้น

 ส่วนประกอบที่สำคัญ

1. สารสกัดจากโสม (Ginseng Extract)
2. นมผึ้ง (Royal Jelly)
3. สารสกัดถั่งเช่า (Cordyceps)
4. สารสกัดยีสต์ เบต้ากลูแคน 
5. สารสกัดเห็ดหลินจือ 
6. สารสกัดเม็ดองุ่น 
7.สารสกัดจากเปลือกสน (Pine Bark Extract)  
8. แอล-ซิสเตอีน (L-Cysteine)
9. แคลเซียม แอสคอร์เบต

เหมาะสำหรับ

-ผู้ป่วยที่มีอาการปวด ตึง อักเสบ ในชั้นกล้ามเนื้อมัดลึกๆ ชาร้าวลงแขนถึงฝ่ามือ
-ผู้ป่วยที่มีเนื้อเยื่อใยพังผืดหนาเหนียวแน่น แข็งเป็นปุ่ม เป็นก้อน เกาะรัดเส้นประสาท













บริหารงานโดย



***อย่าพลาด ติดตามช่วงต่อไปค่ะ คุณจะได้รับประโยชน์มาก***
ศูนย์ขอร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุน ข้อมูล ข่าวสาร ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคนค่ะ

การปรับสมดุล ด้วยการรับประทานสารอาหารที่มีประโยชน์ ฟื้นฟูโดยตรง เกี่ยวกับกระดูก กล้ามเนื้อ เส้นเอ็น เพื่อให้ระบบรักษาตัวเองในร่างกายสามารถกลับมาทำงาน ซ่อมแซม สร้าง โดยอัตโนมัติในส่วนที่มีปัญหา ทำให้อาการปวด เจ็บ ที่รบกวนการใช้ชีวิตประจำวันมาตลอด ได้ดีขึ้น

และป้องกันอาการกลับมาเป็นเหมือนเดิม โดยควบคู่กายบริหารยืดเส้นทุกวัน อย่างมีวินัย เพียงเท่านี้ คุณภาพชีวิต ที่สมดุลสมบรูณ์สุขก็กลับมา

ช่องทางติดต่อปรึกษา และ ติดตามข่าวสาร
มือถือคุณแนน 062-4364796
แอด Line@: https://line.me/R/ti/p/%40agt3661h




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ตัวอะไรกัด? 12 รอยแมลงกัด ตุ่มแดงๆ ขึ้นบนร่างกายแบบนี้ มาจากสัตว์อะไร

มะเร็งไฝ เม็ดผิวหนังที่ขึ้นอยู่ตามร่างกาย จุดดำ ๆ ที่เป็นไฝหรือขี้แมลงวัน อาจกลายเป็นเซลล์มะเร็งได้โดยที่เราไม่ทันรู้ตัว

อดนอน ภูมิตกติดหวัดง่ายขึ้น